ต้นเสลา
ต้นไม้ในสวนพฤษศาสตร์
ต้นเสลา
เสลา (อ่านว่า สะ-เหฺลา)
ชื่อวิทยาศาสตร์: Lagerstroemia loudoni
Teijsm. & Binn
สกุล : Lagerstroemia
วงศ์ :
Lythraceae
สกุล : Lagerstroemia
ชื่ออื่น
ๆ เกรียบ ตะเกรียบ ตะแบกขน เสลาใบใหญ่ อินทรชิต
ลักษณะ ทางพฤกษศาสตร์
5-10 เสลาเป็นไม้ต้น ผลัดใบ สูง 1 เมตร เรือนยอดกลม ทึบ กิ่ง
โน้มลงรอบทรงพุ่ม เปลือกสีเทาดำ
มีรอยแตกเป็นทางยาวตลอดลำต้น
ใบ : ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปขอบขนาน กว้าง 6-10 เซนติเมตร ยาว 16-24 เซนติเมตร
ใบ : ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปขอบขนาน กว้าง 6-10 เซนติเมตร ยาว 16-24 เซนติเมตร
ปลายเรียวแหลมเป็นติ่งโคนมน
เนื้อใบหนาปานกลาง
เส้นใบมีขนนุ่มทั้ง
2 ด้าน
ดอก : สีม่วง ม่วงอมชมพู หรือม่วงกับขาว ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่งกลีบเลี้ยงเชื่อมกันเป็นรูปถ้วย
ดอก : สีม่วง ม่วงอมชมพู หรือม่วงกับขาว ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่งกลีบเลี้ยงเชื่อมกันเป็นรูปถ้วย
ปลายแยกเป็น
5-8 แฉก กลีบดอกส่วนใหญ่มี 6 กลีบ รูปกลม บาง ยับย่น ขอบย้วย
โคนคอดเป็นก้านสั้นๆ เมื่อบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 เซนติเมตร เกสรตัวผู้จำนวนมาก
ผล : รูปเกือบกลม ผิวแข็ง ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร ผล แห้งแตกตามยาว 5-6 พู
ผล : รูปเกือบกลม ผิวแข็ง ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร ผล แห้งแตกตามยาว 5-6 พู
เมล็ด จำนวนมาก มีปีก
การขยายพันธุ์
: และการดูแลรักษา ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
ประโยชน์
: ไม้ทำเครื่องแกะสลัก ด้ามเครื่องมือ ฯลฯ
ถิ่นกำเนิดและนิเวศวิทยา ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบ และป่าชายหาด
ถิ่นกำเนิดและนิเวศวิทยา ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบ และป่าชายหาด
พบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออก
และภาคกลางลงไปถึงจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ช่วงการออกดอก เดือนธันวาคม – เดือนมีนาคม
ช่วงการออกดอก เดือนธันวาคม – เดือนมีนาคม
ต้นไม้ประจำจังหวัด นครสวรรค์
ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%A5%E0
https://sites.google.com/site/tnsela21/
ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%A5%E0
https://sites.google.com/site/tnsela21/
Comments
Post a Comment